Untitled Document

ผู้เขียน หัวข้อ: ขอความรู้กับเรื่ององศาของ X BRACING นะครับ  (อ่าน 1635 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

mayko

  • member
  • ***
  • กระทู้: 121
    จากที่พอทราบมาว่า X BRACING มีทั้งแบบ scalloped และ non scalloped ซึ่งส่งผลต่อการสั่นของไม้หน้าของกีตาร์
และยังทำให้เกิดเสียงที่มีความต่างกันออกไป จากที่สังเกตตามที่พอทราบ ว่ากีตาร์ที่เห็น X BRACING นั้นองศาที่ตัว X BRACING
ทำมุมกันอยู่ 90ํ เลยเกิดข้อสงสัยว่า X BRACING กีตาร์ที่ทำขึ้นมานั้น มีโครงสร้างของX BRACING ทำมุมองศาต่างออกไปมั้ยครับ
ตัวอย่างเช่น 95ํ  98ํ หรือกี่องศาก็แล้วแต่ จะทำให้โครงสร้างและเสียงต่างออกไปมากหรือน้อยครับ โดยตัวของกีตาร์ที่ทำนั้นใช้ไม้
ที่ทำ SPEC เดียวกันคือ TOP SITKA SPRUCE / BACK-SIDE BRAZILLIAN ROSEWOOD

mai_911

  • member
  • ***
  • กระทู้: 3,243
Re: ขอความรู้กับเรื่ององศาของ X BRACING นะครับ
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: กรกฎาคม 24, 2016, 18:44:56 »
ผมไม่เคยรู้เรื่องพวกนี้เลยครับ แปะไว้อ่านซักหน่อย 555

guitar_import

  • member
  • ***
  • กระทู้: 2,175
Re: ขอความรู้กับเรื่ององศาของ X BRACING นะครับ
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: กรกฎาคม 24, 2016, 19:47:49 »
    จากที่พอทราบมาว่า X BRACING มีทั้งแบบ scalloped และ non scalloped ซึ่งส่งผลต่อการสั่นของไม้หน้าของกีตาร์
และยังทำให้เกิดเสียงที่มีความต่างกันออกไป จากที่สังเกตตามที่พอทราบ ว่ากีตาร์ที่เห็น X BRACING นั้นองศาที่ตัว X BRACING
ทำมุมกันอยู่ 90ํ เลยเกิดข้อสงสัยว่า X BRACING กีตาร์ที่ทำขึ้นมานั้น มีโครงสร้างของX BRACING ทำมุมองศาต่างออกไปมั้ยครับ
ตัวอย่างเช่น 95ํ  98ํ หรือกี่องศาก็แล้วแต่ จะทำให้โครงสร้างและเสียงต่างออกไปมากหรือน้อยครับ โดยตัวของกีตาร์ที่ทำนั้นใช้ไม้
ที่ทำ SPEC เดียวกันคือ TOP SITKA SPRUCE / BACK-SIDE BRAZILLIAN ROSEWOOD

เอาเท่าที่ผมรู้นะผิดถูกยังไงก็บอกกล่าวเพิ่มเสริมกันได้ครับ
 ลักษณะของการถ่างมุมXออกมากกว่า90°เพื่อเพิ่มพื้นที่lower bountเพื่อให้ได้เสียงเบสมากขึ้นนั้น เป็นเทคนิคของGibsonครับ เรียกว่า"1930's advanced X bracing pattern" คนที่เริ่มใช้เทคนิคนี้น่าจะเป็นลุงRen Ferguson ส่วนกีตาร์ที่ใช้bracingแบบนี้ก็คือGibson songwriter standard ซึ่งเป็นรุ่นที่เพิ่มความแข็งแรงของโครงสร้างเข้าไปโดยการใช้Andirondack  spruceแทนSitka spruceในการทำBracing

ส่วนค่ายMartinมีความเชื่อที่ต่างออกไปครับ แนวทางของMartinใช้วิธีการขยับจุดตัดของตัวBracingขึ้น-ลงเพื่อให้ได้ลักษณะเสียงอย่างที่ต้องการโดยที่องศาXไม่เปลี่ยน รวมถึงการเหลา(scalloped)bracingให้มีความหนา-บางต่างกันด้วยในแต่ละรุ่น ถ้าตัวXขยับขึ้นมาใกล้ซาวโฮลเรียกว่าForward shifted

ส่วนใครจะชอบแนวทางของค่ายไหนนั้นก็แล้วแต่เลยครับ สำหรับผมแล้วผมชอบแนวทางของMartinมากกว่าครับ

mayko

  • member
  • ***
  • กระทู้: 121
Re: ขอความรู้กับเรื่ององศาของ X BRACING นะครับ
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: กรกฎาคม 24, 2016, 21:07:29 »
ผมไม่เคยรู้เรื่องพวกนี้เลยครับ แปะไว้อ่านซักหน่อย 555
ขอบคุณครับน้า mai_911
    จากที่พอทราบมาว่า X BRACING มีทั้งแบบ scalloped และ non scalloped ซึ่งส่งผลต่อการสั่นของไม้หน้าของกีตาร์
และยังทำให้เกิดเสียงที่มีความต่างกันออกไป จากที่สังเกตตามที่พอทราบ ว่ากีตาร์ที่เห็น X BRACING นั้นองศาที่ตัว X BRACING
ทำมุมกันอยู่ 90ํ เลยเกิดข้อสงสัยว่า X BRACING กีตาร์ที่ทำขึ้นมานั้น มีโครงสร้างของX BRACING ทำมุมองศาต่างออกไปมั้ยครับ
ตัวอย่างเช่น 95ํ  98ํ หรือกี่องศาก็แล้วแต่ จะทำให้โครงสร้างและเสียงต่างออกไปมากหรือน้อยครับ โดยตัวของกีตาร์ที่ทำนั้นใช้ไม้
ที่ทำ SPEC เดียวกันคือ TOP SITKA SPRUCE / BACK-SIDE BRAZILLIAN ROSEWOOD

เอาเท่าที่ผมรู้นะผิดถูกยังไงก็บอกกล่าวเพิ่มเสริมกันได้ครับ
 ลักษณะของการถ่างมุมXออกมากกว่า90°เพื่อเพิ่มพื้นที่lower bountเพื่อให้ได้เสียงเบสมากขึ้นนั้น เป็นเทคนิคของGibsonครับ เรียกว่า"1930's advanced X bracing pattern" คนที่เริ่มใช้เทคนิคนี้น่าจะเป็นลุงRen Ferguson ส่วนกีตาร์ที่ใช้bracingแบบนี้ก็คือGibson songwriter standard ซึ่งเป็นรุ่นที่เพิ่มความแข็งแรงของโครงสร้างเข้าไปโดยการใช้Andirondack  spruceแทนSitka spruceในการทำBracing

ส่วนค่ายMartinมีความเชื่อที่ต่างออกไปครับ แนวทางของMartinใช้วิธีการขยับจุดตัดของตัวBracingขึ้น-ลงเพื่อให้ได้ลักษณะเสียงอย่างที่ต้องการโดยที่องศาXไม่เปลี่ยน รวมถึงการเหลา(scalloped)bracingให้มีความหนา-บางต่างกันด้วยในแต่ละรุ่น ถ้าตัวXขยับขึ้นมาใกล้ซาวโฮลเรียกว่าForward shifted

ส่วนใครจะชอบแนวทางของค่ายไหนนั้นก็แล้วแต่เลยครับ สำหรับผมแล้วผมชอบแนวทางของMartinมากกว่าครับ
ขอบคุณครับน้า guitar_import

mayko

  • member
  • ***
  • กระทู้: 121
Re: ขอความรู้กับเรื่ององศาของ X BRACING นะครับ
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: กรกฎาคม 27, 2016, 15:18:25 »
  น้าท่านอื่นๆ พอมีประสบการณ์หรือมีข้อแนะนำความรู้เพิ่มอีกบ้างมั้ยครับ ขอบคุณครับ