Untitled Document

ผู้เขียน หัวข้อ: ไม้ไทยก็ทำกีตาร์โปร่งได้ดีจริงรึเปล่า..สนับสนุนคนไทย.  (อ่าน 51387 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

Yatsunori

  • member
  • ***
  • กระทู้: 216
  • เพศ: ชาย
บ้านผมมีเสาไม้สัก20ต้น พร้อมขายทั้งหลัง(ไม่ขายที่)สนใจติดต่อได้ครับ 5555
ไม่เริ่ม ก็ไม่รู้

facebook.com/zhimyth

slashdot

  • member
  • ***
  • กระทู้: 679
    • http://www.facebook.com/pthongyotee
เคยสั่งกีต้าไฟฟ้าไม้สัก.... ใส่ของไปเต็มที่ ทั้ง jb- re59 สุดท้ายเล่นได้ทีละสองเพลง หนักมากๆ... ประมาณแบกเลสพอลสองตัวพร้อมกัน ไม่ไหว ขายทิ้งไปในเวลารวดเร็ว คนซื้อเป็นฝรั่งมันไม่บ่นสักคำแฮะ (สงสัยเพราะเล่นกล้ามมา)
กีตาร์ที่เสียงดี มีอยู่เยอะ แต่ที่ใช่คือกีตาร์ที่คุณเล่นแล้วรู้สึกถึงมัน มีส่วนร่วมกับมันได้

Yatsunori

  • member
  • ***
  • กระทู้: 216
  • เพศ: ชาย
เคยสั่งกีต้าไฟฟ้าไม้สัก.... ใส่ของไปเต็มที่ ทั้ง jb- re59 สุดท้ายเล่นได้ทีละสองเพลง หนักมากๆ... ประมาณแบกเลสพอลสองตัวพร้อมกัน ไม่ไหว ขายทิ้งไปในเวลารวดเร็ว คนซื้อเป็นฝรั่งมันไม่บ่นสักคำแฮะ (สงสัยเพราะเล่นกล้ามมา)


ที่หนักนี่สักทองรึเปล่าครับ
ไม่เริ่ม ก็ไม่รู้

facebook.com/zhimyth

dho

  • member
  • ***
  • กระทู้: 643
 ความตั้งใจที่จะผลิตกีตาร์ที่มีคุณภาพขึ้น เพื่อให้ทุกคนรู้ว่าการทำกีตาร์ในเมืองไทยและใช้ไม้ไทยเพื่อให้ได้ยินคุณภาพเสียงที่ดีเปรียบกับกีตาร์ราคาแพง ช่วงชีวิตช่างกีตาร์จะผลิตได้ซักกี่ตัวก็ไม่เสียชาติเกิดที่ได้ทำและพบปัญหา คนไทยไม่เห็นคุณค่า แต่วันข้างหน้าหาซื้อไม่ได้   

FOTOBEER

  • member
  • ***
  • กระทู้: 5,404
  • เพศ: ชาย
  • fotobeer2516แอ๊ดgmail.com
ไม้ไทย ส่วนใหญ่ ถ้าช่างทำ จะขายได้แต่พวกฝรั่ง

แต่คนไทย จะใช้ไม้นอก

ผมชอบมากเลยครับน้าเบียร์ ประโยคนี้
ผมเคยเห็น กีตาร์(ไฟฟ้า)ไม่สัก แกะสลักลายไทย แต่อยู่ในมือฝรั่ง...


5555555 มันเป็นธรรมดาของมนุษย์ ครับ

มีเรื่องจะเหลาให้ฟัง  ตอนเด็กๆ ผมชอบไปตกปลาที่บึงแบบเป็นแพ  แล้วไอพวกแพฝั่งโน้น มันก็เหวี่ยงเบ็ดข้ามฝั่งมาไกล จนจะถึงแพ ผมอยู่แล้ว  ผมก็มานั่งคิด อ้าว และอย่างนี้ กรูจะเหวี่ยงไปให้ไกลทำไม  กรู ก็ตกมันตรงหน้าแพตัวเองเนี่ยแหละ .................. 5555 คนเราบ้างครั้ง มันก็บ้า และโง่ดีเหมือนกันนะ......อิอิ

slashdot

  • member
  • ***
  • กระทู้: 679
    • http://www.facebook.com/pthongyotee
ไม้ไทย ส่วนใหญ่ ถ้าช่างทำ จะขายได้แต่พวกฝรั่ง

แต่คนไทย จะใช้ไม้นอก

ผมชอบมากเลยครับน้าเบียร์ ประโยคนี้
ผมเคยเห็น กีตาร์(ไฟฟ้า)ไม่สัก แกะสลักลายไทย แต่อยู่ในมือฝรั่ง...


5555555 มันเป็นธรรมดาของมนุษย์ ครับ

มีเรื่องจะเหลาให้ฟัง  ตอนเด็กๆ ผมชอบไปตกปลาที่บึงแบบเป็นแพ  แล้วไอพวกแพฝั่งโน้น มันก็เหวี่ยงเบ็ดข้ามฝั่งมาไกล จนจะถึงแพ ผมอยู่แล้ว  ผมก็มานั่งคิด อ้าว และอย่างนี้ กรูจะเหวี่ยงไปให้ไกลทำไม  กรู ก็ตกมันตรงหน้าแพตัวเองเนี่ยแหละ .................. 5555 คนเราบ้างครั้ง มันก็บ้า และโง่ดีเหมือนกันนะ......อิอิ


เพราะตกหน้าแพ มันมีแต่กระโห้... เปลืองเหยื่อตากิ๊ก อีกประมาณห้าถัง
กีตาร์ที่เสียงดี มีอยู่เยอะ แต่ที่ใช่คือกีตาร์ที่คุณเล่นแล้วรู้สึกถึงมัน มีส่วนร่วมกับมันได้

arnone

  • member
  • ***
  • กระทู้: 572
  • เพศ: ชาย
  • Norman b18/cedar
ประดู่ ชิงชัน ฯลฯ ประมาณนี้ เหล่านี้ก็อยู่ในสายพันธุ์ Rosewood นี่ครับ

มะฮอกกานีนี่ ผมว่าน่าจะประมาณไม้ตะเคียนบ้านเราครับ  ตัวนี้ไม่แน่ใจ  แต่ผมดูเนื้อมันแล้วน่าจะใช่

ไม้มะเกลือก็ Ebony ไงครับ

ไม่สน  ก็ Spruce   ครับ

ผมว่าที่เห่อๆ กันแพงนั่นหน่ะหลายๆ ชิ้นของหลายๆ ตัวก็คงเคยเป็นซุงแถวๆ บ้านเรานี่แหละ  แต่พอแปะพะยี่ห้อเข้าให้มีลายเซ็นคนดัง  ราคาเลยต้องไปนู่นเลย  อิ อิ
ชอบจิงๆเลยครับคำว่าพระยี่ห้อ555+
Norman b18/cedar

dho

  • member
  • ***
  • กระทู้: 643
ถ้ามีตังค์หาซื้อไม้ชิงชันเก็บกันไว้บ้างเด้อ..เอาไว้ให้ช่างคนไทยทำกีตาร์ให้เล่น..มันสุดยอดไปเลย.

guitarhaha

  • member
  • ***
  • กระทู้: 1,573
ถ้าเป็นไม้หน้า เช่น Spruce Cedar ต้องเป็นสนเมืองหนาว เช่น แคนาดา เยอรมัน อเมริกา ฯลฯ
ส่วนไม้ข้างกับหลัง เช่น Mahogany หรือ Rosewood Koa ส่วนใหญ่จะเป็นเมืองร้อนหรือร้อนชื้นนะ
ถึงจะเข้ากัน เช่น Brazillian Rosewood, Indian Rosewood, African Mahogany, Hawaii Koa
ผมว่าไม้จาก Indonisia หรือ พม่า ก็คงโดน บ.กีต้าร์ ดังๆ กว้านซื้อไปเยอะอยู่นะ

Yatsunori

  • member
  • ***
  • กระทู้: 216
  • เพศ: ชาย
http://www.nngguitars.com/Acoustic%20guitar%20.htm



เสียดาย ลุงเสริฐแกเลิกผลิตแล้ว แต่ผมคิดว่ายังมีกีต้าร์ที่มีใน stock อยู่ครับ


อย่างไรก็ดี จากเท่าที่ได้สัมผัสมา เสียงไปแสน ตัวจริงอยู่หลักหมื่น คุ้มครับ
ไม่เริ่ม ก็ไม่รู้

facebook.com/zhimyth

โก้ - Aromild

  • member
  • ***
  • กระทู้: 1,480
  • เพศ: ชาย
  • Aromild ดนตรีที่มีกลิ่นหอมละมุน...
    • Facebook
ไม้ไทย ส่วนใหญ่ ถ้าช่างทำ จะขายได้แต่พวกฝรั่ง

แต่คนไทย จะใช้ไม้นอก

ผมชอบมากเลยครับน้าเบียร์ ประโยคนี้
ผมเคยเห็น กีตาร์(ไฟฟ้า)ไม่สัก แกะสลักลายไทย แต่อยู่ในมือฝรั่ง...


5555555 มันเป็นธรรมดาของมนุษย์ ครับ

มีเรื่องจะเหลาให้ฟัง  ตอนเด็กๆ ผมชอบไปตกปลาที่บึงแบบเป็นแพ  แล้วไอพวกแพฝั่งโน้น มันก็เหวี่ยงเบ็ดข้ามฝั่งมาไกล จนจะถึงแพ ผมอยู่แล้ว  ผมก็มานั่งคิด อ้าว และอย่างนี้ กรูจะเหวี่ยงไปให้ไกลทำไม  กรู ก็ตกมันตรงหน้าแพตัวเองเนี่ยแหละ .................. 5555 คนเราบ้างครั้ง มันก็บ้า และโง่ดีเหมือนกันนะ......อิอิ

อันนี้ ฮาจริงครับ 5555+
กระบี่อยู่ที่ใจ หากเยี่ยมยุทธแล้วไซร้ แค่กิ่งไผ่ก็ไร้เทียมทาน...

โก้ - Aromild

  • member
  • ***
  • กระทู้: 1,480
  • เพศ: ชาย
  • Aromild ดนตรีที่มีกลิ่นหอมละมุน...
    • Facebook
มาว่ากันด้วยเรื่องกีตาร์ไม้ไทยกันต่อดีกว่าครับ

ผมว่า ไม่ใช่ว่าไม่ไทยมันไม่ดี หรือให้เสียงไม่ดี แต่... เราไม่ได้สนใจที่จะทำการวิจัยหรือทดลองมันอย่างจริงจังมากกว่า
คำถามคือ วิจัยหรือทดลองอย่างไร
หลักการก็คือ ถ้าเราจะทำการวิจัยว่าไม้ไทยชนิดใด ให้เสียงเป็นอย่างไร และแตกต่างกับไม้(หลักๆ)ของต่างประเทศที่ใช้ทำกีตาร์อย่างไร
1. โทนเสียง
ถ้าเราจะวิจัยไม้ที่สามารถใช้ทำ Back and Side ดังนั้น เราต้องทำกีตาร์จากไม้หลักขึ้นมา 1 ตัว ต่อไม้หลัก 1 ชนิด เช่น Indian Rosewood, Mahogany
จากนั้น เราก็สร้างกีตาร์จากไม้ที่เราจะทำการวิจัยขึ้นมาอีก 1 ตัว ต่อไม้ 1 ชนิด เช่นไม้สัก ไม้ชิงชัน ไม้จำปา ฯลฯ (แล้วแต่จะวิจัย) ณ ความหยาเท่ากัน
แต่ ตัวแปรสำคัญต้องเหมือนเดิม คือ ทรง, ไม้หน้า(Soundboards), Bracing(วัสดุ,ขนาดและการวางโครงสร้าง), Neck, Fret Board, Bridge, Bridge pin, Saddle, Nut, สาย, ความหนาของไม้
ความคุมความชิ้นในเนื้อไม้ ความคุมความชื้นในขั้นตอนการผลิต และเมื่อสร้างกีตาร์เสร็จ ก็ทำการลองทีละตัว บรรทึกเสียง ความคุมความชื้น
2. ความหนา
ตัวแปลสำคัญเหมือนกับข้อหนึ่ง แต่ใช้ไม้ชนิดเดิม เปลี่ยนความหนาไปเรื่อยๆ เช่น 3 mm, 3.5mm, 4 mm, 4.5 mm, 5 mm, ฯลฯ
เพื่อหาความหนาที่เหมาะสมในการให้เสียงของไม้ชนิดนั้นๆครับ

กระบี่อยู่ที่ใจ หากเยี่ยมยุทธแล้วไซร้ แค่กิ่งไผ่ก็ไร้เทียมทาน...

FOTOBEER

  • member
  • ***
  • กระทู้: 5,404
  • เพศ: ชาย
  • fotobeer2516แอ๊ดgmail.com
มาว่ากันด้วยเรื่องกีตาร์ไม้ไทยกันต่อดีกว่าครับ

ผมว่า ไม่ใช่ว่าไม่ไทยมันไม่ดี หรือให้เสียงไม่ดี แต่... เราไม่ได้สนใจที่จะทำการวิจัยหรือทดลองมันอย่างจริงจังมากกว่า
คำถามคือ วิจัยหรือทดลองอย่างไร
หลักการก็คือ ถ้าเราจะทำการวิจัยว่าไม้ไทยชนิดใด ให้เสียงเป็นอย่างไร และแตกต่างกับไม้(หลักๆ)ของต่างประเทศที่ใช้ทำกีตาร์อย่างไร
1. โทนเสียง
ถ้าเราจะวิจัยไม้ที่สามารถใช้ทำ Back and Side ดังนั้น เราต้องทำกีตาร์จากไม้หลักขึ้นมา 1 ตัว ต่อไม้หลัก 1 ชนิด เช่น Indian Rosewood, Mahogany
จากนั้น เราก็สร้างกีตาร์จากไม้ที่เราจะทำการวิจัยขึ้นมาอีก 1 ตัว ต่อไม้ 1 ชนิด เช่นไม้สัก ไม้ชิงชัน ไม้จำปา ฯลฯ (แล้วแต่จะวิจัย) ณ ความหยาเท่ากัน
แต่ ตัวแปรสำคัญต้องเหมือนเดิม คือ ทรง, ไม้หน้า(Soundboards), Bracing(วัสดุ,ขนาดและการวางโครงสร้าง), Neck, Fret Board, Bridge, Bridge pin, Saddle, Nut, สาย, ความหนาของไม้
ความคุมความชิ้นในเนื้อไม้ ความคุมความชื้นในขั้นตอนการผลิต และเมื่อสร้างกีตาร์เสร็จ ก็ทำการลองทีละตัว บรรทึกเสียง ความคุมความชื้น
2. ความหนา
ตัวแปลสำคัญเหมือนกับข้อหนึ่ง แต่ใช้ไม้ชนิดเดิม เปลี่ยนความหนาไปเรื่อยๆ เช่น 3 mm, 3.5mm, 4 mm, 4.5 mm, 5 mm, ฯลฯ
เพื่อหาความหนาที่เหมาะสมในการให้เสียงของไม้ชนิดนั้นๆครับ




ใช่ครับ เห็นด้วยกับน้าโก้เหมือนกัน ว่า ในไทย ยังไม่มีการทำวิจัย หรือ ทดลองกันอย่างเป็นจริงเป็นจัง  ผมไม่เชื่อว่า ไม้เมืองนอก มันต้องดีที่สุด   ก็แค่เค้าเป็นคนคิด และ ทำมาก่อนบ้านเราก้แค่นั้นเอง

แต่เอาเข้าจริงๆ ใครมันจะเสียเวลามานั่งวิจัย  มันก็เห็นธุรกิจเป็นเงินไปหมด ไม่ต้องมาเสียเวลา 

 

Note ReggaeMetal BluesPunk

  • member
  • ***
  • กระทู้: 15
  • เพศ: ชาย
บ้าน เรา อะ มี ดี แต่ ไม่ มี ใคร สนับ สนุบ แบบ จริง จัง
ยิ่งเป็น งาน Handmade แล้ว คน ไทย เป็น ที่ 1 ของ โลก แต่

คน ไทย ซวย ที่ ไม่ ใคร สนับ สนุน เรา Copy ของ ให้ เหมือน จอง จริง ได้ 99.99% แต่ เรา ทำให้ เป็น ของ เราเองไม่ได้
น่า สงสาร คนไทย เลือก ตั้ง คราว นี้ ดู กัน ดีๆ นะ

โก้ - Aromild

  • member
  • ***
  • กระทู้: 1,480
  • เพศ: ชาย
  • Aromild ดนตรีที่มีกลิ่นหอมละมุน...
    • Facebook
มาว่ากันด้วยเรื่องกีตาร์ไม้ไทยกันต่อดีกว่าครับ

ผมว่า ไม่ใช่ว่าไม่ไทยมันไม่ดี หรือให้เสียงไม่ดี แต่... เราไม่ได้สนใจที่จะทำการวิจัยหรือทดลองมันอย่างจริงจังมากกว่า
คำถามคือ วิจัยหรือทดลองอย่างไร
หลักการก็คือ ถ้าเราจะทำการวิจัยว่าไม้ไทยชนิดใด ให้เสียงเป็นอย่างไร และแตกต่างกับไม้(หลักๆ)ของต่างประเทศที่ใช้ทำกีตาร์อย่างไร
1. โทนเสียง
ถ้าเราจะวิจัยไม้ที่สามารถใช้ทำ Back and Side ดังนั้น เราต้องทำกีตาร์จากไม้หลักขึ้นมา 1 ตัว ต่อไม้หลัก 1 ชนิด เช่น Indian Rosewood, Mahogany
จากนั้น เราก็สร้างกีตาร์จากไม้ที่เราจะทำการวิจัยขึ้นมาอีก 1 ตัว ต่อไม้ 1 ชนิด เช่นไม้สัก ไม้ชิงชัน ไม้จำปา ฯลฯ (แล้วแต่จะวิจัย) ณ ความหยาเท่ากัน
แต่ ตัวแปรสำคัญต้องเหมือนเดิม คือ ทรง, ไม้หน้า(Soundboards), Bracing(วัสดุ,ขนาดและการวางโครงสร้าง), Neck, Fret Board, Bridge, Bridge pin, Saddle, Nut, สาย, ความหนาของไม้
ความคุมความชิ้นในเนื้อไม้ ความคุมความชื้นในขั้นตอนการผลิต และเมื่อสร้างกีตาร์เสร็จ ก็ทำการลองทีละตัว บรรทึกเสียง ความคุมความชื้น
2. ความหนา
ตัวแปลสำคัญเหมือนกับข้อหนึ่ง แต่ใช้ไม้ชนิดเดิม เปลี่ยนความหนาไปเรื่อยๆ เช่น 3 mm, 3.5mm, 4 mm, 4.5 mm, 5 mm, ฯลฯ
เพื่อหาความหนาที่เหมาะสมในการให้เสียงของไม้ชนิดนั้นๆครับ




ใช่ครับ เห็นด้วยกับน้าโก้เหมือนกัน ว่า ในไทย ยังไม่มีการทำวิจัย หรือ ทดลองกันอย่างเป็นจริงเป็นจัง  ผมไม่เชื่อว่า ไม้เมืองนอก มันต้องดีที่สุด   ก็แค่เค้าเป็นคนคิด และ ทำมาก่อนบ้านเราก้แค่นั้นเอง

แต่เอาเข้าจริงๆ ใครมันจะเสียเวลามานั่งวิจัย  มันก็เห็นธุรกิจเป็นเงินไปหมด ไม่ต้องมาเสียเวลา 

 

ตอนนี้ผมคิดเป็นหัวข้อปริญญานิพนธ์ไว้แล้วครับน้าเบียร์ คิดให้เพื่อนที่เรียนวิศวกรรมไม้(Wood Engineering) แต่มันไม่สนใจ
สาขานี้ ไม่ค่อยมีมหาลัยอื่นเปิดด้วย เท่าที่ผมรู้มา มีที่นี่ที่เดียว ใครเรียนทางด้านนี้ ลองเอาไปเสนอทำปริญญานิพนธ์ดูครับ
กระบี่อยู่ที่ใจ หากเยี่ยมยุทธแล้วไซร้ แค่กิ่งไผ่ก็ไร้เทียมทาน...

dho

  • member
  • ***
  • กระทู้: 643
ในเรื่องการวิจัยไม้จะต้องไปหาใครครับช่วยบอกหน่อยหรือทิ้งเบอร์ไว้ให้ที..และใครทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับไม้อยู่ขอเบอร์หน่อยครับ

somjean

  • member
  • ***
  • กระทู้: 447
  • Mr. Taxi Taxi Taxi ทุชี่ ๆ ๆ ๆ ๆ
ในเรื่องการวิจัยไม้จะต้องไปหาใครครับช่วยบอกหน่อยหรือทิ้งเบอร์ไว้ให้ที..และใครทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับไม้อยู่ขอเบอร์หน่อยครับ
น้าอ้นครับ... กรมป่าไม้ครับ.. น่าจะตรงที่สุด ที่มหาลัยเกษตรครับ มีความรู้เพียบเลย

Montra

  • member
  • ***
  • กระทู้: 537
  • เพศ: ชาย
มาว่ากันด้วยเรื่องกีตาร์ไม้ไทยกันต่อดีกว่าครับ

ผมว่า ไม่ใช่ว่าไม่ไทยมันไม่ดี หรือให้เสียงไม่ดี แต่... เราไม่ได้สนใจที่จะทำการวิจัยหรือทดลองมันอย่างจริงจังมากกว่า
คำถามคือ วิจัยหรือทดลองอย่างไร
หลักการก็คือ ถ้าเราจะทำการวิจัยว่าไม้ไทยชนิดใด ให้เสียงเป็นอย่างไร และแตกต่างกับไม้(หลักๆ)ของต่างประเทศที่ใช้ทำกีตาร์อย่างไร
1. โทนเสียง
ถ้าเราจะวิจัยไม้ที่สามารถใช้ทำ Back and Side ดังนั้น เราต้องทำกีตาร์จากไม้หลักขึ้นมา 1 ตัว ต่อไม้หลัก 1 ชนิด เช่น Indian Rosewood, Mahogany
จากนั้น เราก็สร้างกีตาร์จากไม้ที่เราจะทำการวิจัยขึ้นมาอีก 1 ตัว ต่อไม้ 1 ชนิด เช่นไม้สัก ไม้ชิงชัน ไม้จำปา ฯลฯ (แล้วแต่จะวิจัย) ณ ความหยาเท่ากัน
แต่ ตัวแปรสำคัญต้องเหมือนเดิม คือ ทรง, ไม้หน้า(Soundboards), Bracing(วัสดุ,ขนาดและการวางโครงสร้าง), Neck, Fret Board, Bridge, Bridge pin, Saddle, Nut, สาย, ความหนาของไม้
ความคุมความชิ้นในเนื้อไม้ ความคุมความชื้นในขั้นตอนการผลิต และเมื่อสร้างกีตาร์เสร็จ ก็ทำการลองทีละตัว บรรทึกเสียง ความคุมความชื้น
2. ความหนา
ตัวแปลสำคัญเหมือนกับข้อหนึ่ง แต่ใช้ไม้ชนิดเดิม เปลี่ยนความหนาไปเรื่อยๆ เช่น 3 mm, 3.5mm, 4 mm, 4.5 mm, 5 mm, ฯลฯ
เพื่อหาความหนาที่เหมาะสมในการให้เสียงของไม้ชนิดนั้นๆครับ



ตามที่เคยเอามาทำเครื่องดนตรีไทยนะครับ

ชิงชัน ทำซอเสียงหวานสุด แหลมลึกนิ่ง ทุ้มก็ดีลึก อิ่ม  กลางจะอ่อนไปนิด

ประดู่  ทำซอเสียงกลางสว่างไสว ชัด  แหลม ทุ้ม สู้ชิงชันไม่ได้  แต่น้ำหนักเบา  ตอนนี้อย่างเทเลอร์ก็เริ่มเอาประดู่มาทำแล้วครับ  ทำซอนี่ราคาเบา จับ ถือ ขน ง่าย ถูกดี แต่ด้วยที่น้ำหนัก เล่นเร็วๆ สบัดเยอะๆ จะหลุดมือเอาครับ ทำให้ระดับมือสูงๆ ไม่ชอบ  ต้องให้มือระดับเริ่มต้น นักเรียนเล่น เสียงชัดดี

มะเกลือ และญาติๆ ที่เรียกว่ามะริด เสียงแน่นดีนิ่งดี แหลมเด่น กลางดี แต่ทุ้มไม่สว่าง ไม่ลึก ไม่อิ่มหวาน เหมือนชิงชัน  ทำคันทวนสุดยอดเลยเเพราะแข็ง น้ำหนักดี สัมผัสลื่นแต่กระชับ ดำขลับ มันวาว สวยดี หายาก ราคาแพง  กีตาร์แพงๆ ถึงเลือกใช้มะเกลือทำเฟรตบอร์ด กับบริดจ์ไงครับ

นอกนั้นก็มี ขนุน(อันนี้ทำพิณเสียงดีครับ) มะม่วงป่าก็เคยมี ไม้ไผ่ เค้าก็เอามาทำกันสาระพัดแล้วครับ  แต่เราคิดแต่ว่ากีตาร์มันเครื่องดนตรีฝรั่ง ก็ต้องใช้ไม้ฝรั่ง  ทั้งที่ฝรั่งจริงๆ มีไม้อยุ่ไม่กี่ชนิด  มากสุดก็คือไม้สนครับ  มากกว่าคึ่งตัวของกีตาร์ส่วนใหญ่คือไม้เมืองร้อนนะครับ  อย่าลืม

**กีตาร์มันเถียงไม่ได้ เธอไปบ่นมันทำไม**

dho

  • member
  • ***
  • กระทู้: 643
น้าเป๋าไม่เคยทำให้ผิดหวังจริงๆ..ผมมีเวลาจะเข้าไปที่ม.เกษตรซักหน่อย..ขอบคุณมาก.
ขอบคุณน้าmontraด้วยครับ

Grhythm

  • member
  • ***
  • กระทู้: 217
เรื่องศิลปะ เป็นเรื่องของความชอบ และอารมณ์ ล้วนๆ ครับ บ้างก็ว่าเพราะ บ้างก็ว่าไม่เพราะ

มันไม่มีตัวชี้วัดที่แน่นอน นอกจาก เอาความคิด ของคนหมู่มาก หรือ ผู้ที่มีชื่อเสียงด้านนั้น
มาเป็นบรรทัดฐานว่า อันนั้นเพราะ อันนี้ไม่เพราะ มันเป็นเรื่องของ จังหวะด้วยครับ กีต้าร์ตัวเดียวกัน ตอนออกใหม่ๆ ไม่มีคนสนใจ
เวลาผ่านไป บอกปากต่อปาก ก็ว่าเพราะขึ้น ^^

เอาวัดได้จริงๆ น่าจะเป็นเรื่องความทนมากกว่ากระมัง : D

กีต้าร์คนไทย สำหรับผม ผมว่าเยี่ยมครับ อิอิ อยากได้จังงงง
Adventure @ Phanchanwit
ช่าง เอ
Adventure
ช่าง นิด
Credit เวป guitarsiam ครับผมม